Page 20

preview22

สารบัญรูป (ต่อ) ด หน้า รูปที่ 3-74 (ก) ยูตริเคิลและแซคคูลมีเซลล์ขนกับสเตอริโอซิเลียเกาะกับแผ่นเยื่อหินปูน 196 ถ้ายกศีรษะให้ขนสั้นเบนไปหาขนยาวจะเกิดดีโพลาไรเซชัน (ข) เซลล์ขนในอวัยวะครึ่งวงกลม ขณะอยู่นิ่งและขณะหมุนศีรษะต้องอยู่ ในท่าครึ่งวงกลมถูกกระตุ้น รูปที่ 3-75 เส้นทางของระบบเวสติบูลาร์ทางด้านหลัง 196 รูปที่ 3-76 การทำงานของท่อครึ่งวงกลมด้านข้างขณะนั่งก้มหน้า 30 ํ หันศีรษะไปทางซ้าย 197 รูปที่ 3-77 แผนที่สมองใหญ่ทำหน้าที่เป็นมอเตอร์ 202 รูปที่ 3-78 แผนภาพแสดง lateral และ ventral corticospinal tract จากสมองใหญ่ 203 ผ่านก้านสมองไปยังเวนตรัลเกรย์คอลัมน์ไขสันหลัง รูปที่ 3-79 แผนผังแสดงการเชื่อมต่อกันของมอเตอร์คอร์เทกซ์ 204 รูปที่ 3-80 ภาพแสดงมอเตอร์นิวคลิไอในเวนตรัลเกรย์ 206 รูปที่ 3-81 โครงสร้างของกล้ามเนื้อรูปกระสวยและกอลไจ 208 รูปที่ 3-82 การติดต่อของเบสัลแกงเกลียเพื่อควบคุมการเคลื่อนไหว 211 รูปที่ 3-83 วงจรการติดต่อภายในสมองน้อย 214 รูปที่ 3-84 หน้าที่ของสมองน้อยในเชิงเป็นผู้เปรียบเทียบ (compartor function) 217 รูปที่ 3-85 นิวคลิไอของเซลล์ประสาทมอเตอร์ในก้านสมอง 218 รูปที่ 3-86 การจัดเรียงตัวของเซลล์ในมอเตอร์นิวโรนพูลของไขสันหลัง 219 รูปที่ 3-87 (ก-ค) แสดง Decorticate rigidity โดย (ก) (ข) มี tonicneck refex 222 ส่วน (ค) เป็น Decerebrate rigidity ที่แท้จริง รูปที่ 3-88 การควบคุมการเคลื่อนไหวในอำนาจจิตใจ 223 รูปที่ 3-89 การควบคุมของระบบมอเตอร์เซลล์ประสาท 224 รูปที่ 3-90 เปรียบเทียบการจัดเรียงเซลล์ของระบบประสาทกายกับประสาทอัตโนมัติ 225 รูปที่ 3-91 การควบคุมของระบบมอเตอร์เซลล์ประสาทมอเตอร์ชนิดอัลฟาเป็นวิถีสุดท้าย สัญญาณนำเข้าจากส่วนปลายและไขสันหลังและสัญญาณนำลงจากก้านสมอง เปลือกสมองใหญ่มีอิทธิพลต่อเซลล์ประสาทมอเตอร์ สมองน้อยและเบสัลแกงเกลีย ช่วยงานสมองใหญ่โดยการปรับที่ก้านสมองและการทำงานของคอร์เทกซ์ 226 รูปที่ 3-92 การจัดองค์กรของระบบประสาทอัตโนมัติ 227 รูปที่ 3-93 สารสื่อประสาทที่หลั่งจากเส้นประสาทกายคืออะเซทิลโคลิน และเส้นประสาทอัตโนมัติโดยเซลล์ก่อนปมประสาทจะหลั่งอะเซทิลโคลิน เหมือนกันหมด ส่วนเซลล์หลังปมประสาทหลั่งแตกต่างกันตามชนิดของตัวรับ 231 รูปที่ 3-94 ส่วนประกอบของระบบประสาทเอ็นเทอริก 231


preview22
To see the actual publication please follow the link above