Page 19

preview22

สารบัญรูป (ต่อ) ณ หน้า รูปที่ 3-56 เส้นทางเดินของวิถีประสาทรับสัมผัสและแรงกดดัน ความรู้สึกจากข้อต่อและ กล้ามเนื้อผ่านดอร์สัลรูท แกงเกลียในระดับนั้นขึ้นไปประสานกับเซลล์ประสาท ตัวที่ 2 ที่นิวเคลียสกราซิลิสหรือนิวเคลียส คูเนียตัส รวมกันเป็นเส้นใยทอดข้าม เมดัลลาที่ Medial lemniscus ผ่านพอนส์สมองส่วนกลางผ่านทาลามัสที่ VPL หรือ VPM ถูกคัดกรองส่งต่อไปยังเปลือกสมองใหญ่ส่วนพาริเอตัล 162 รูปที่ 3-57 วิถีประสาท lateral spinothalamic tract (LST) นำสัญญาณ ความเจ็บปวดสัมผัสและอุณหภูมิสู่ทาลามัสและสมองใหญ่ 164 รูปที่ 3-58 ความถี่ของการตอบสนองของเส้นประสาทรับอุณหภูมิชนิดต่างๆ 167 รูปที่ 3-59 เซลล์รับรสและเซลล์พี่เลี้ยงในตุ่มรับรสมีปลายประสาทประสานที่ เยื่อชั้นฐานของเซลล์ 171 รูปที่ 3-60 (ก) การกระจายของตุ่มรับรสบนลิ้นและบริเวณที่มีความไวต่อรสพื้นฐานสี่รส 172 (ข) เส้นประสาทที่มาเลี้ยงลิ้น (ค) ปุ่มรับรสชนิดต่างๆ รูปที่ 3-61 เส้นทางเดินของประสาทรับรสเข้าสู่สมอง 175 รูปที่ 3-62 โครงสร้างของเนื้อเยื่อรับกลิ่นและการรับกลิ่น 176 รูปที่ 3-63 ทางเดินประสาทรับกลิ่นเยื่อจมูกและเซลล์ประสาทในกระเปาะรับกลิ่น 177 รูปที่ 3-64 ส่วนประกอบของเซลล์ในกระเปาะรับกลิ่น 178 รูปที่ 3-65 ภาพตัดในแนวนอนของลูกตาข้างขวา 180 รูปที่ 3-66 (ก) เส้นทางเดินของประสาทการมองเห็น 186 (ข) เส้นทางของรีเฟลกซ์แสง รูปที่ 3-67 โครงสร้างของหูชั้นนอก ชั้นกลาง และชั้นใน ส่วนที่เป็นกระดูกเกาะติดกระดูกขมับ 188 รูปที่ 3-68 หูชั้นในทั้งสามส่วน คือ เวสติบูลคอเคลียและอวัยวะครึ่งวงกลม 189 รูปที่ 3-69 (บน) รูปผ่ากลางคอเคลียแสดงอวัยวะคอร์ติ และช่องทั้งสามของคอเคลีย 190 (ล่าง) โครงสร้างของอวัยวะคอร์ติ รูปที่ 3-70 กลไกการเปลี่ยนแปลงพลังงานในเซลล์ขนของหูชั้นใน 192 รูปที่ 3-71 คลื่นเสียงความถี่ต่างกันทำให้เยื่อเบสิลาร์สั่นแตกต่างกัน 193 รูปที่ 3-72 แผนที่แสดงระดับความดังของเสียง 193 รูปที่ 3-73 เส้นทางเดินของประสาทนำเสียง 194


preview22
To see the actual publication please follow the link above